Diary no.4
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Provision for Early Childhood
วันที่ศุกร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561
เวลา 8.30 - 12.30 น.
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Provision for Early Childhood
วันที่ศุกร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561
เวลา 8.30 - 12.30 น.
😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (ทักษะคือความสามารถที่เกิดจากการฝึกฝน) การส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล
1. ทักษะการสังเกต
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5หารายละเอียดของสิ่งนั้น ตาดู หูฟัง ลิ้นชิมรส กานสัมผัส
เครื่องมือเก็บข้อมูลในลักษณะต่างๆ
- การสังเกตรูปร่างลักษณะและคุณสัมบัติทั่วไป
- การสังเกตควบคู่กับการวัดเพื่อทราบปริมาณ
- การสังเกตเพื่อรู้การเปลี่ยนแปลง
2. ทักษะการจำแนกประเภท (classifying)
แบ่งประเภทโดยใช้เกณฑ์ (criteria) หาเกณฑ์
- ความเหมือน
- ความแตกต่าง
- ความสัมพันธ์ร่วมกัน
3.ทักษะการวัด
เครื่องมือต่างๆใช้ในการวัดหาปริมาณของสิ่งที่อยากรู้ โดยมีหน่วยวัดกำกับ
4.ทักษะการสื่อความหมาย การพูด การเขียน รูปภาพ ท่าทาง การแสดงสีหน้า
- บรรยายคุณสมบัติ
- บันทึกการเปลี่ยนแปลง
- ความสัมพันธ์การจัดข้อมูล
5.ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (ภาษา)
การเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์เดิม
6. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
การรู้จักเรียนรู้ 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ การเขียนภาพ 2 มิติแทน 3 มิติ การบอกทิศทาง การบอกเงาที่เกิดจากภาพ 3 มิติ
7. ทักษะการคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร การนับ การบอกความแตกต่าง
1. ทำให้ชีวิตมีความสะดวกสบายขึ้น
2.เป็นเครื่องมือทำนายอนาคต
3.ทำให้ดำรงชีวิตได้อย่างปลอดภัย ด้านการรักษา การแพทย์
💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛💛
ทำไมจะต้องสอนวิทยาศาสตร์
1.มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยเป็นเกณฑ์
2. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2560
3. เป็นเรื่องในชีวิตประวำวัน
สมองกับวิทยาศาสตร์
1. ตีความข้อมูลที่ได้รับเพื่อทำความเข้าใจ
2. หาเหตุผลเชื่อมโยงสิ่งที่คิดขึ้นเพื่อสืบค้นความจริง
3. ประเมินคุณค่าของสิ่งต่างๆเพื่อการตัดสินใจ
องค์ประกอบการคิดทางวิทยาศตร์
1. สิ่งที่กำหนดให้ เป็นสิ่งสำเร็จรูปที่กำหนดให้ ใช้ทักษะ 7 อย่าง (ภาษา คณิต และวิทยาศาสตร์)
2. หลักการหรือกฎเกณฑ์
3. การค้นหาความจริงหรือความสำคัญ
คือ ความสามารถของเด็กในแต่ละช่วงวัย
มัลักษณะ คือ การเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นขั้นเป็นตอนอย่างต่อเนื่อง
➤ รู้พัฒนาการเพื่อ นำมาออกแบบจัดกิจกรรมที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็กหรือเรียกอีกอย่างว่าการเล่น ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
พัฒนาการตามแนวคิกของนักทฤษฎีต่างๆ
-สติปัญญา เพียเจต์ บรูนเนอร์
-พัฒนาการทางสังคม มาสโลว์
-พัฒนาการทางพฤติกรรม ซิกมันฟรอยด์
-พัฒนาการทางร่างกายกีเซล
-พัฒนาการทางด้านคุณธรรม โคลเบริก์
Skills (ทักษะ)
รู้หลักการวางแผนในการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาตร์ให้เหมาะสมกับช่วงวัยและพัฒนาการของเด็ก
วิทยาศาตร์เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันความหมาย ความสำคัญ และทักษะต่างๆที่ต้องจัดให้เด็ก
Apply (การนำมาประยุกต์ใช้)
นำทักษะทั้ง 7 ทักษะมาใช้ในการเรียนวิชาวิทยาศตร์และวิชาอื่นๆ สามารถนำทักษะเหล่านี้ไปใช้ได้ และนำทักษะต่างๆ เช่น ทักษะการ สังเกต การจำแนก มาประยุกต์ใช้วางแผนในการจัดประสบการณ์ที่เหมาะกับพัฒนาการของเด็ก
Technique (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
power point นำเสนอ และโทรศัพท์ในการค้นหาคำศัพท์และคำนิยามทางวิทยาศาตร์
Assessment (การประเมิน)
Friend : เพื่อนๆตั้งใจฟังไม่คุยกัน เวลานำเสนงานก็ช่วยกันนำเสนอดี
Teacher : อาจารย์ให้อธิบายและยกตัวอย่างประกอบในการสอนได้ชัดเจนดี และเสนอแนะในการทำงานกลุ่มเพื่อให้งานออกมาดี
Classroom : วันนี้เรียนตึก 34 อากาศค่อนข้างร้อน อุปกรณ์ไม่ครบ ทำให้ยืดเวลาการเรียนการสอนไปนิดนึง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น